สัญลักษณ์แทนความเท่าเทียม "=" ของ รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
= {\displaystyle =} เท่ากับx = y ดังนั้น x มีค่า/เหมือนกับ y2 = 2

1 + 1 = 2

36 - 5 = 31

เท่ากับ, เทียบเท่ากับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
≠ {\displaystyle \neq } ไม่เท่ากับ x ≠ y {\displaystyle x\neq y} แสดงว่า x ไม่มีค่า/ไม่เหมือนกับ y

(ส่วน !=, /= หรือ <> ส่วนใหญ่ใช้ในเชิงโปรแกรม

เป็นรหัสแอสกี)

2 + 2 ≠ 5 {\displaystyle 2+2\neq 5}

36 − 5 ≠ 30 {\displaystyle 36-5\neq 30}

ไม่เท่ากับ, ไม่เทียบเท่ากับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
≈ {\displaystyle \approx } ประมาณ x ≈ y {\displaystyle x\approx y} แสดงว่า x มีค่าใกล้เคียงกับ y

อาจจะพบได้ในรูปของ ≃, ≅, ~, ♎ หรือ ≒

π ≈ 3.14159
ประมาณ, เกือบเท่ากับ, ใกล้เคียง
ใช้ในทุกหมวดหมู่
คล้ายกับG ≈ H แสดงว่ากรุป G มีความคล้ายคลึงกับ H

(หรือจะใช้ ≅ แทน)

Q 8 / C 2 = V {\displaystyle Q_{8}/C_{2}=V}
...คล้ายกับ...
ทฤษฎีกรุป
∼ {\displaystyle \sim } การแจกแจงความน่าจะเป็นX ~ D หมายความว่า X เป็นตัวแปรสุ่มของ DX ~ N (0,1) การแจกแจงปรกติ
แจกแจงให้แก่
สถิติ
สมการสมมูลA ~ B คือ สามารถสร้าง B ได้ โดยใช้การดำเนินการตามแถว [ 1 2 2 4 ] {\displaystyle {\begin{bmatrix}1&2\\2&4\end{bmatrix}}} ∼ [ 1 2 0 0 ] {\displaystyle \sim {\begin{bmatrix}1&2\\0&0\end{bmatrix}}}
สมมูลกับ
เมทริกซ์
อันดับของขนาดm ~ n แสดงว่า m และ n มีปริมาตร/ลำดับของขนาด แตกต่างกัน

(อย่าลืมว่า ≈ แตกต่างจาก ~ นะจ๊ะ)

2 ~ 5

8 × 9 ~ 100

"แต่" π2 ≈ 10

(อะแถมให้เลย กันลืม)

แตกต่างจาก
การประมาณค่า
ความคล้าย△ABC ~ หมายความว่า △ABC มีความคล้ายกับ △DEF△ABC ~ △DEF
คล้ายกับ
เราขาคณิต
การกระจายเชิงเส้นกำกับf ~ g คือ lim n → ∞ f ( n ) g ( n ) = 1 {\displaystyle \lim _{n\to \infty }{\frac {f(n)}{g(n)}}=1} x ~ x+1
กระจายให้แก่...
การวิเคราห์ความซับซ้อนของอัลกอรึทึม
ความสัมพันธ์a ~ b คือ b ∈ [ a ] {\displaystyle b\in [a]} 1 ~ 5 โมดูลัสกับ 4
ใกล้เคียงกับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
=: {\displaystyle =:}

:= {\displaystyle :=}

≡ {\displaystyle \equiv }

:⇔ {\displaystyle :\Leftrightarrow }

≜ {\displaystyle \triangleq }

= d e f {\displaystyle {\overset {\underset {\mathrm {def} }{}}{=}}}

≐ {\displaystyle \doteq }

การนิยามx := y, y =: x หรือ x ≡ y

หมายความว่า x คือ y และ y คือ x

(p ⇔ q คือ p ก็ต่อเมื่อ q)

cosh ⁡ x := e x + e − x 2 {\displaystyle \cosh x:={\frac {e^{x}+e^{-}x}{2}}}

[ a , b ] := a ⋅ b − b ⋅ a {\displaystyle [a,b]:=a\cdot b-b\cdot a}

นิยามได้ว่า, คือ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
≅ {\displaystyle \cong } เท่ากันทุกประการ△ABC ≅ △DEF หมายความว่า △ABC เท่ากันทุกประการกับ △DEF (มีอัตราส่วนในแต่ละด้านเท่ากัน)
เท่ากันทุกประการกับ
เรขาคณิต
คล้ายกันG ≅ H หมายความว่า กรุป G คล้ายกับ(โครงสร้างคล้ายกับ) กรุป H

(รึจะใช้ ≈ ก็ได้นะเออ)

V ≅ C2 × C2
คล้ายกับ
พีชคณิตนามธรรม
≡ {\displaystyle \equiv } การสมภาคกันของจำนวน[3]a ≡ b (มอดุลาร์ n) หมายความว่า a - b หาร n ลงตัว5 ≡ 2 (มอดุลาร์ 3)
...สมภาคกับ...มอดุลาร์...
เลขคณิตมอดุลาร์
⇔ {\displaystyle \Leftrightarrow }

⟺ {\displaystyle \Longleftrightarrow }

↔ {\displaystyle \leftrightarrow }

ก็ต่อเมื่อA ⇔ B หมายความว่า หากค่าความจริงของ A เป็น T ค่าความจริงของ B ก็จะเป็น T แต่หาก A ค่าความจริงเป็น F ค่าความจริงของ B ก็จะเป็น F ด้วยx + 5 = y + 2 ⇔ x + 3 = y
ก็ต่อเมื่อ
ตรรกศาสตร์
=: {\displaystyle =:}

:= {\displaystyle :=}

ค่าของA := b หมายความว่า A มีค่าเป็น Bให้ a := 3 แล้ว

f(x) := x + 3

นิยามของ...คือ...
ใช้ในทุกหมวด

ใกล้เคียง

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย รายการธงประจำจังหวัดของไทย รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 รายการอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย รายการประกวดความงาม รายการธงในประเทศไทย รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2